อบรมความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศอย่างปลอดภัย 4 บทบาท และ ทบทวน Confined Space Training
หลักสูตรอบรมความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ 2564 และ ทบทวน
Confined Safety Training
วิทยากร อ.ปราโมทย์ โอภาสมงคลฃัย และ ทีมงาน ผู้มีประสบการณ์มากกว่า 15 ปี
วัตถุประสงค์:
- เพื่อความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศอย่างปลอดภัย
- เพื่อปฏิบัติตาม ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และหลักสูตรการฝึกอบรมความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ พ.ศ. 2564 หมวด 1 หลักเกณฑ์ วิธีการฝึกอบรม ข้อ 2
- เพื่อสร้างทัศนคติที่ดีเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงาน
ประกอบไปด้วย หลักสูตร
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1. ผู้อนุญาต (อบรม 1 วัน ทฤษฎี 5 ชม. ปฏิบัติ 2 ชม.)
ภาคทฤษฎี
1. กฎหมายความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ
2. ความหมาย ชนิด ประเภทและอันตรายในที่อับอากาศ
3. การชี้บ่งอันตรายและการประเมินสภาพอันตราย การประเมินสภาพพื้นที่และงาน และการเตรียมความพร้อมในการทำงานในที่อับอากาศ
4. วิธีปฏิบัติงานในพื้นที่อับอากาศที่ถูกต้องและปลอดภัย
5. การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ใช้ในที่อับอากาศ และอุปกรณ์ช่วยเหลือและช่วยชีวิต
6. ระบบการขออนุญาตทำงานในที่อับอากาศและการขอยกเลิกการอนุญาต และหลักการตัดแยกพลังงานเพื่อความปลอดภัย
7. บทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบของผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือและผู้ปฏิบัติงาน และการสื่อสารในที่อับอากาศ
ภาคปฏิบัติ
1. เทคนิคการตรวจสอบสภาพพื้นที่และงาน ก่อนตัดสินใจอนุญาต
2. เทคนิคในการควบคุมการทำงาน ในที่อับอากาศ
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
2. ผู้ควบคุมงาน (อบรม 2 วัน ทฤษฎี 9 ชม. ปฏิบัติ 3 ชม.)
ภาคทฤษฎี
- กฎหมายความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ
- ความหมาย ชนิด ประเภทและอันตรายในที่อับอากาศ
- การชี้บ่งอันตรายและการประเมินสภาพอันตราย การประเมินสภาพพื้นที่และงาน และการเตรียมความพร้อมในการทำงานในที่อับอากาศ
- ระบบการขออนุญาตทำงานในที่อับอากาศและการขอยกเลิกการอนุญาต และหลักการตัดแยกพลังงานเพื่อความปลอดภัย
- บทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบของผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือและผู้ปฏิบัติงาน และการสื่อสารในที่อับอากาศ
- เทคนิคการตรวจสอบสภาพอากาศในที่อับอากาศ และการใช้และตรวจสอบเครื่องมือหรืออุปกรณ์ตรวจวัดสภาพอากาศในที่อับอากาศ
- เทคนิคการระบายอากาศ
- การสั่งให้หยุดทำงานชั่วคราว
- การวางแผนการปฏิบัติงานและการป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากการทำงานในที่อับอากาศ
- เทคนิคในการจัดทำแผนปฏิบัติงานและการป้องกันอันตราย
- การควบคุมดูแล การใช้เครื่องป้องกัน PPE และอุปกรณ์ช่วยเหลือและช่วยชีวิต
ภาคปฏิบัติ
- เทคนิคการตรวจสอบสภาพอากาศในที่อับอากาศ และการใช้และตรวจสอบเครื่องมือหรืออุปกรณ์ตรวจวัดสภาพอากาศในที่อับอากาศ
- เทคนิคการระบายอากาศและเครื่องมือ
- เทคนิคการควบคุมการทำงาน ในที่อับอากาศ
- การใช้งานอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ใช้ในที่อับอากาศ
- การใช้อุปกรณ์ช่วยเหลือและการช่วยชีวิต
- ฝึกปฏิบัติงานจริง สถานการณ์การปฏิบัติงานในที่อับอากาศ
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
3. ผู้ช่วยเหลือ (ระยะเวลาอบรม 3 วัน ทฤษฎี 12 ชม. ปฏิบัติ 6 ชม.)
ภาคทฤษฎี
- กฎหมายความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ
- ความหมาย ชนิด ประเภทและอันตรายในที่อับอากาศ
- การชี้บ่งอันตรายและการประเมินสภาพอันตราย การประเมินสภาพพื้นที่และงาน และการเตรียมความพร้อมในการทำงานในที่อับอากาศ
- ระบบการขออนุญาตทำงานในที่อับอากาศและการขอยกเลิกการอนุญาต และหลักการตัดแยกพลังงานเพื่อความปลอดภัย
- บทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบของผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือและผู้ปฏิบัติงาน และการสื่อสารในที่อับอากาศ
- เทคนิคการระบายอากาศ
- วิธีปฏิบัติงานในพื้นที่อับอากาศที่ถูกต้องและปลอดภัย
- การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ใช้ในที่อับอากาศ และอุปกรณ์ช่วยเหลือและช่วยชีวิต
- เทคนิคการตรวจสอบสภาพอากาศในที่อับอากาศ และการใช้และตรวจสอบเครื่องมือหรืออุปกรณ์ตรวจวัดสภาพอากาศในที่อับอากาศ
- อันตรายที่อาจได้รับในกรณีฉุกเฉินและวิธีหลีกหนีภัย
- การช่วยเหลือและการช่วยชีวิต
- การปฐมพยาบาลและการช่วยเหลือเบื้องต้น และ CPR
ภาคปฏิบัติ
- การใช้งานอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ใช้ในที่อับอากาศ
- การใช้อุปกรณ์ช่วยเหลือและการช่วยชีวิต
- เทคนิคการตรวจสอบสภาพอากาศในที่อับอากาศ และการใช้และตรวจสอบเครื่องมือหรืออุปกรณ์ตรวจวัดสภาพอากาศในที่อับอากาศ
- เทคนิคการระบายอากาศและเครื่องมือ
- การช่วยเหลือและการช่วยชีวิต
- การปฐมพยาบาลและการช่วยเหลือเบื้องต้น และ CPR
- ฝึกปฏิบัติงานจริง สถานการณ์การปฏิบัติงานในที่อับอากาศ
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
4. ผู้ปฏิบัติงาน (อบรม 2 วัน ทฤษฎี 9 ชม. ปฏิบัติ 3 ชม.)
ภาคทฤษฎี
- กฎหมายความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ
- ความหมาย ชนิด ประเภทและอันตรายในที่อับอากาศ
- การชี้บ่งอันตรายและการประเมินสภาพอันตราย การประเมินสภาพพื้นที่และงาน และการเตรียมความพร้อมในการทำงานในที่อับอากาศ
- ระบบการขออนุญาตทำงานในที่อับอากาศและการขอยกเลิกการอนุญาต และหลักการตัดแยกพลังงานเพื่อความปลอดภัย
- บทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบของผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือและผู้ปฏิบัติงาน และการสื่อสารในที่อับอากาศ
- เทคนิคการระบายอากาศ
- วิธีปฏิบัติงานในพื้นที่อับอากาศที่ถูกต้องและปลอดภัย
- การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ใช้ในที่อับอากาศ และอุปกรณ์ช่วยเหลือและช่วยชีวิต
- เทคนิคการตรวจสอบสภาพอากาศในที่อับอากาศ และการใช้และตรวจสอบเครื่องมือหรืออุปกรณ์ตรวจวัดสภาพอากาศในที่อับอากาศ
- อันตรายที่อาจได้รับในกรณีฉุกเฉินและวิธีหลีกหนีภัย
ภาคปฏิบัติ
- การใช้งานอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ใช้ในที่อับอากาศ
- เทคนิคการตรวจสอบสภาพอากาศในที่อับอากาศ และการใช้และตรวจสอบเครื่องมือหรืออุปกรณ์ตรวจวัดสภาพอากาศในที่อับอากาศ
- เทคนิคการระบายอากาศและเครื่องมือ
- ฝึกปฏิบัติงานจริง สถานการณ์การปฏิบัติงานในที่อับอากาศ
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
5. ผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือและผู้ปฏิบัติ (4 บทบาท) (อบรม 4 วัน ทฤษฎี 15 ชม. ปฏิบัติ 9 ชม.)
ภาคทฤษฎี
- กฎหมายความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ
- ความหมาย ชนิด ประเภทและอันตรายในที่อับอากาศ
- การชี้บ่งอันตรายและการประเมินสภาพอันตราย การประเมินสภาพพื้นที่และงาน และการเตรียมความพร้อมในการทำงานในที่อับอากาศ
- ระบบการขออนุญาตทำงานในที่อับอากาศและการขอยกเลิกการอนุญาต และหลักการตัดแยกพลังงานเพื่อความปลอดภัย
- บทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบของผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือและผู้ปฏิบัติงาน และการสื่อสารในที่อับอากาศ
- เทคนิคการระบายอากาศ
- การสั่งให้หยุดทำงานชั่วคราว
- การวางแผนการปฏิบัติงานและการป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากการทำงานในที่อับอากาศ
- เทคนิคในการจัดทำแผนปฏิบัติงานและการป้องกันอันตราย
- การควบคุมดูแล การใช้เครื่องป้องกัน PPE และอุปกรณ์ช่วยเหลือและช่วยชีวิต
- วิธีปฏิบัติงานในพื้นที่อับอากาศที่ถูกต้องและปลอดภัย
- การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ใช้ในที่อับอากาศ และอุปกรณ์ช่วยเหลือและช่วยชีวิต
- เทคนิคการตรวจสอบสภาพอากาศในที่อับอากาศ และการใช้และตรวจสอบเครื่องมือหรืออุปกรณ์ตรวจวัดสภาพอากาศในที่อับอากาศ
- อันตรายที่อาจได้รับในกรณีฉุกเฉินและวิธีหลีกหนีภัย
- การช่วยเหลือและการช่วยชีวิต
- การปฐมพยาบาลและการช่วยเหลือเบื้องต้น และ CPR
ภาคปฏิบัติ
- เทคนิคการตรวจสอบสภาพพื้นที่และงาน ก่อนตัดสินใจอนุญาต
- การใช้งานอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ใช้ในที่อับอากาศ
- การใช้อุปกรณ์ช่วยเหลือและการช่วยชีวิต
- เทคนิคการตรวจสอบสภาพอากาศในที่อับอากาศ และการใช้และตรวจสอบเครื่องมือหรืออุปกรณ์ตรวจวัดสภาพอากาศในที่อับอากาศ
- เทคนิคการระบายอากาศและเครื่องมือ
- การช่วยเหลือและการช่วยชีวิต
- การปฐมพยาบาลและการช่วยเหลือเบื้องต้น และ CPR
- การอนุญาตทำงานในที่อับอากาศและการสื่อสาร
- เทคนิคในการควบคุมการทำงาน ในที่อับอากาศ
- ฝึกปฏิบัติงานจริง สถานการณ์การปฏิบัติงานในที่อับอากาศ
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
6. ทบทวนความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ (อบรมทฤษฎี 3 ชม.)
ภาคทฤษฎี
- กฎหมายความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ
- ความหมาย ชนิด ประเภทและอันตรายในที่อับอากาศ
- การชี้บ่งอันตรายและการประเมินสภาพอันตราย การประเมินสภาพพื้นที่และงาน และการเตรียมความพร้อมในการทำงานในที่อับอากาศ
- ระบบการขออนุญาตทำงานในที่อับอากาศและการขอยกเลิกการอนุญาต และหลักการตัดแยกพลังงานเพื่อความปลอดภัย
- บทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบของผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือและผู้ปฏิบัติงาน และการสื่อสารในที่อับอากาศ
- วิธีปฏิบัติงานในพื้นที่อับอากาศที่ถูกต้องและปลอดภัย
- การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ใช้ในที่อับอากาศ และอุปกรณ์ช่วยเหลือและช่วยชีวิต
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
รูปแบบการอบรมแบบ
ลักษณะการอบรมในรูปแบบ Active Learning และ Learner center (การบรรยายเฃิงรุก และ ผู้เรียน เป็น ศูนย์กลาง)
ผสมผสาน ฺBBS , Safety Training, Coaching, Consulting เต็มรูปแบบ เผื่่อกระตุ้นจิตสำนึกความปลอดภัย เพื่อเกิดความตระหนักรู้ Safety Awareness
ติดต่อ...
LINE : @thesafetycoach
Podcast : The Safety Coach Podcast
Youtube : ให้สัมภาษณ์เรื่องที่อับอากาศ ThaiPBS